สารบัญ

 

บทที่หนึ่ง ประสบการณ์พิสดารทางจิตครั้งแรก

 

ทุกข์มาก

อยากรู้จักพระพุทธเจ้า

พบหนังสือมองด้านใน

พบอาจารย์ไสว แก้วสม

ไปสวนโมกข์ครั้งแรก

กลับไปสวนโมกข์อีก

ประสบการณ์พิสดารทางจิตครั้งแรก

เข้าใจชีวิตได้มากขึ้น

หลุดพ้นด้วยพลังสมาธิ

จับต้นชนปลายไม่ถูก

 

บทที่สอง ประสบการณ์หลุดพ้นครั้งที่สอง

 

เหตุเกิดที่บ้านพรานนก

ทุกความคิดกลายเป็นฝุ่นละอองที่ไร้ค่า

ใครจะมารู้เรื่องอย่างนี้ได้

หลุดเข้าไปในอีกมิติหนึ่ง

บอกพี่ละเอียดให้เลิกอ่านหนังสือ

ฟ้าผ่าไม่ถูกใจ

ตั้งคำถามกับอาจารย์โกวิท

เล่นลิเกไม่ได้

สภาวะอัศจรรย์ค่อย ๆ จางลง

เหลืออยู่แต่ปัญญา

สูตรสำเร็จของชีวิต

กลับมาเป็นปุถุชนเต็มที่

 

บทที่สาม วิเคราะห์เหตุการณ์ย้อนหลัง

 

ใครจะรับประกันให้ได้

เกิดผิดเพศ

ทำไมพระอรหันต์จึงต้องทำอานาปานสติ

รู้แต่ต้นกับปลายเท่านั้น

ต้องมีพี่เลี้ยง

รู้ว่าทุกปัญหามาจากต้นตอเดียวกัน

ทำรายงานปรัชญาได้ดีที่สุด

กิเลสมากับความคิด

ต้องเผาหนังสือถ้าอยากไปนิพพาน

ไม่ใช่เป็นวิสัยของปุถุชนจะรู้ได้

ผู้รู้ทุกท่านพูดเหมือนกันหมด

ของคิดกับของจริงไม่เหมือนกัน

เกิดการลักลั่น

พลังสมาธิก่อให้เกิดพลังทางกาย

จิตรวบได้เร็ว

เอาเรื่องหลุดพ้นเรื่องเดียวก็พอแล้ว

 

บทที่สี่ รู้เรื่องลึกซึ้งโดยไม่รู้ตัว

 

ไม่รู้ว่ากำลังทำวิปัสสนา

กำลังปฏิบัติเพื่ออรหัตผล

เพราะเห็นนิโรธจึงรู้มรรค

แม้อยากเปรียบเทียบ ก็ทำไม่ได้

อยากเป็นเหมือนพระพุทธเจ้า

คนทักว่าไม่ต้องมีอาจารย์หรือ?

ปฏิเสธการรับปริญญา

เพื่อนที่แสนดี

เขียนจดหมายให้อาจารย์พุทธทาส

สมเพชตัวเอง

 

บทที่ห้า เข้าสู่สนามรบภายในจิตใจ

 

เพื่อนที่แสนดีหายไป

เหมือนเททิงเจอร์ใส่แผลสด

ต้องทำตลอดเวลาจริง ๆ

ปลีกตัวไปอยู่ถ้ำ

ไม่เห็นอันตรายที่อยู่เบื้องหน้า

อยู่เหนือเงื่อนไขของเวลา

แขกผู้มาในความมืด

ไปหาพ่อแม่

คิดหนักเรื่องอนาคต

 

บทที่หก เริ่มทำงานหาเงิน

 

ทำหน้าที่สอดแนม

จับคนไข้ทำสมาธิ

รับใช้คนเห็นแก่เงินไม่ได้

ย้ายที่ทำงาน

หาเพื่อนร่วมงานไม่ได้

ปลีกตัวเพื่ออัดพลังทางใจ

ได้เห็นอริยสัจในข้อทุกข์

ทำงานกรรมกรเพื่อชะล้างความสกปรกทางใจ

ได้รับการอนุเคราะห์จากกรรมกร

ใส่หมวกซะ!!!

หัวใจสะอาดมากขึ้น

ช่วยเขมรอพยพ

เห็นความทุกข์ระดับโลก

 

บทที่เจ็ด เลือกคู่ชีวิต ถูกทดสอบจากเบื้องบน

 

เมื่อดวงเนื้อคู่มาถึง

ชายหนุ่มชาวอังกฤษขอแต่งงาน

ชายหนุ่มชาวสวิสขอแต่งงาน

อกหักไปตาม ๆ กัน

หาเหตุผลแต่งงาน

รักสามเส้า

นั่งสมาธิเลือกคู่

แต่งได้คนเดียว

 

บทที่แปด ชีวิตแต่งงาน

 

ชีวิตคู่คือการทะเลาะกับกิเลสของทั้งสองฝ่าย

สามีภรรยาคือเพื่อนที่ดีของกันและกัน

การรักคนอื่นคือเห็นแก่ตัวเองน้อยลง

เลือกคนที่รักเรา อยู่ง่ายกว่า

เรียนรู้จากการใช้ชีวิตคู่

แต่งงานกับคนต่างชาติต้องปรับตัวมากขึ้น

คิดว่าตนเองล้มเหลวเพราะยุ่งกับเมถุนธรรม

มองเมถุนธรรมอย่างเป็นกลาง ๆ

กิเลสก่อให้เกิดอุตสาหกรรมขายมนุษย์

บททดสอบความรัก

เลือกคนไม่ผิด

 

บทที่เก้า เรียนรู้ประสบการณ์แห่งความเป็นแม่

 

คนเห็นแก่ตัวเป็นแม่ที่ดีไม่ได้

รู้สึกโชคดีที่ได้เป็นแม่คน

สัญชาติญาณแห่งความเป็นแม่คือขนมหวานของธรรมชาติ

ลูกคือบ่วงผูกคอ

แต่งงาน ๕ ปี มีลูก ๓ คน

บอกลูกว่าแม่ไม่อยู่ค้ำฟ้า

 

บทที่สิบ ประสบการณ์พิสดารทางจิตครั้งที่สาม: เห็นแมวจับหนูได้เอง

 

อุดมคติกับของจริงไม่เหมือนกัน

เฝ้าดูก้อนทุกข์อยู่ ๕ ปี

ปฏิบัติจิตตานุปัสนาสติปัฏฐานโดยไม่รู้ตัว

เริ่มเห็นความเป็นอัตโนมัติของจิต

ไม่มี “ตัวเรา” มีแต่แมวจับหนู

เหมือนธรรมชาติที่แม่ปกป้องลูก

“อย่าลูก” เกิดเพราะเหตุนี้

อธิบายให้ลูกฟัง ง่ายมาก

อธิบายให้สามีฟัง ยากมาก

จาก “อย่าลูก” ถึง “papa”

หญิงเพี้ยนคนนี้มาจากเมืองไทย

เห็นแม่หนูคลอดลูกหนู เห็นปฏิจสมุปบาทฝ่ายเกิด

แมวจับหนูในขั้นตอนต่าง ๆ

ต่อสู้แบบหมัดต่อหมัดอยู่ ๙ ปี

เริ่มอยู่ในโลกของตนเองที่โดดเดี่ยว

 

บทที่สิบเอ็ด เริ่มต่อแสงเทียน ส่องธรรมให้ผู้อื่น

เริ่มเขียนหนังสือ

มีเสียงมาบอกให้ไปสอนไท้เก็ก

ควรสอนสมาธิด้วย

สอนตัวเอง

สามีและลูกเอือมระอาไปตาม ๆ กัน

ถามเอง ตอบเอง

 

บทที่สิบสอง มรรคกับผลเกิดแล้ว แต่นิพพานยังไม่เกิด

 

แมวเริ่มตะปบหนูได้เก่งขึ้น

สังขาร เจตสิก จิต

ทำลายสายโซ่ที่สองของปฏิจสมุปบาท ไม่ธรรมดาแล้ว

เหลือแต่ผัสสะบริสุทธิ์เป็นส่วนมาก

เล่นไปตามบทบาทของโลกสมมุติ

ม่านบังตาบาง ๆ สภาวะก่อนเกิดญาณขั้นสุดท้าย

มีแต่มรรคกับผล ยังไม่มีนิพพาน

แม่เสีย จิตกำเริบ

 

บทที่สิบสาม ญาณได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา

 

วันที่เกิดญาณ

ญาณปัญญามาย้ำตัวเพ่งของฐานที่สี่

เจโตวิมุติ เหมือนเนื้อร่อนออกจากกระดูก

ปัญญาวิมุติ เหมือนความสว่างของดวงอาทิตย์ ๑๐ ดวง

เหมือนการได้สำรวจเมืองใหม่ที่เพิ่งมาถึง

สรุปว่าเป็นคนท้องถิ่นได้แล้ว

วิเคราะห์เหตุการณ์ย้อนหลัง เหมือนการหลุดของกลีบหัวหอม

ต้องเป็นเมืองเดียวกันแน่นอน

เปรียบเทียบปัญญาวิมุติอีก

กะลาคว่ำได้หงายขึ้นแล้ว

ตัวต่อตัวสุดท้ายถูกวางลงแล้ว

รู้แจ้งแทงตลอดแค่ไหน

อาสวักขยญาณต้องเป็นความรู้ขั้นพื้นฐานของพระอรหันต์

 

บทที่สิบสี่ เกิดความสามารถใหม่ ๆ

 

พูดเรื่องโครงสร้างชีวิตได้ชัดเจน

แม้ตัวเพ่งของฐานที่สี่ ก็สอนได้ชัดเจนมาก

สิ่งที่เคยกำกวมก็ชัดเจนแล้ว

สอนปัญญาชนฝรั่งไม่ใช่เรื่องง่าย

ได้เพาะเมล็ดพันธุ์แห่งการหลุดพ้นให้นักศึกษาแล้ว

 

บทที่สิบห้า วิเคราะห์ความเป็นอริยะของตนเอง

 

รู้สึกธรรมดา ข้อพิสูจน์ว่าญาณได้เกิดแล้ว

อยากอยู่บ้านบนต้นไม้ tree house

ธรรมดาที่ต่างกันสุดขั้ว

มีสติเต็มเปี่ยมอย่างเป็นธรรมชาติ

แมวยังจับหนูอยู่ แต่น้อยลงทุกวัน

ตั้งจิตอธิษฐาน ปลุกเร้าตนเองให้ช่วยเหลือผู้อื่น

พูดทำไม? ถึงแล้วไม่ใช่หรือ?

ขอให้รู้ว่า เราไม่ใช่เป็นปุถุชนก็พอแล้ว

หลวงปู่หล้าพบทางตันในการตอบปัญหา

จานเล็กที่หมุนอยู่บนจานใหญ่

ผู้รู้กลับสู่อมตะธรรมได้อย่างง่ายดาย

ทำไมพระอรหันต์ยังเจริญอานาปานสติอยู่?

ความโดดเดี่ยวของผู้บรรลุธรรมขั้นสูง

จิตกำเริบ ๑๘ ชั่วโมง ใบไม้กำมือเดียวจึงคลอดออกมา

 

บทที่สิบหก สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหลังเกิดญาณแล้ว

 

เหลือเพียงอายตนะนั้น

เห็นความสว่างกินความมืด

พยายามทดสอบสภาวะพระนิพพาน

เบื้องหลังคู่มือชีวิต

กลับบ้านเป็นแล้ว

วิปัสสนาคือการพาจิตกลับบ้าน

สติปัฏฐานสี่เป็นทางสายตรงพาผู้ปฏิบัติไปถึงประตูพระนิพพาน

เหตุผลที่ต้องทำอะไรช้า ๆ อย่างมีสติ

ต้องตรัสรู้ก่อน จึงจะเรียกว่ารู้จริง

เมื่อรู้ว่าบ้านอยู่ที่ไหน จะตีลังกากลับบ้านก็ยังได้

ความสว่างที่มืด

คนที่ไม่ได้ฝึกวิปัสสนาเปรียบเหมือนการสร้างบ้านบนฐานทราย

นิพพานเป็นเรื่องเหนือดีเหนือชั่ว เป็นบ้านสร้างบนฐานคอนกรีตเสริมเหล็ก

นิพพานเป็นเรื่องคิดเองไม่ได้ ต้องรับฟังผู้รู้

ดูหนังที่ตื่นเต้นได้อย่างไม่สะดุ้งตกใจ

กายสะดุ้ง แต่ใจไม่ตก

ผู้รู้จะเห็นเป็นการแสดงสองชั้น

ดูหนังเพื่อเรียนรู้การเดินสายความคิดของมนุษย์

ปุถุชนดูหนัง ดูมายาซ้อนมายา ชักยุ่ง

โลกปั่นป่วน เพราะจิตของคนบูดเบี้ยวมาก

ผู้รู้ถ้าไม่ท้อใจ ก็ต้องทำงานหนักมาก

เบื่อโลกสมมุติ เพื่อนหายหมด

การคุยกับคนเป็นปัญหามาก

ใครบ้ากันแน่!!!

คนหายบ้าสนิทเท่านั้นจึงจะรู้ว่าใครบ้าน้อยหรือบ้ามาก

วิปัสสนา เครื่องมือป้องกันจิตไม่ให้บ้า

เห็นความวุ่นวายของโลกเป็นเรื่องธรรมดา ไม่กระตือรือร้นแล้ว

จินตภาพของหลวงพ่อสุยกลับมา

อ่านคำชม ไม่ตื่นเต้นแล้ว

การเดินทางไปสถานที่ใหม่ย่อมตื่นเต้นสำหรับปุถุชน

สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงเมื่อครั้งไปญี่ปุ่น

ไปหลงทางที่ญี่ปุ่น แต่หัวใจไม่สั่น

ฟ้าผ่าไม่ถูกใจ

ฟ้าผ่าลงบนเขาพุดทองที่สวนโมกข์

ร้องสุดเสียง แต่ฟ้าก็ยังผ่าไม่ถูกใจ

ปฏิกิริยาในความฝันก็เปลี่ยนไป

วิปัสสนา เครื่องมือออกจากฝันร้ายที่ตื่นอยู่

รู้ว่าหนังสือธรรมะไม่ใช่ตัวธรรม

เมื่อญาณยังไม่เกิด การวิเคราะห์ข้อธรรมจะไม่สมบูรณ์

หลังเกิดญาณแล้ว อ่านหนังสือธรรมะเพื่อเอาข้อมูล

ความปราดเปรียวของปัญญาค่อย ๆ เลือนหายไป

รู้ว่าจิตเปลี่ยนแน่เมื่อฟังเทปประวัติของพระอาจารย์มั่น

เป็นความคิดที่ทำให้บ้าสนิทได้

 

บทที่สิบเจ็ด เรื่องพื้น ๆ ของชีวิตประจำวันก็เปลี่ยนไป

 

การนอนก็เปลี่ยนไป

เข้าถึงอัปนาสมาธิในขณะที่ครอบครัวดูโทรทัศน์

จะใช้คำว่า “ผวา” ได้หรือไม่?

แม่ทุกคนต้องคิดถึงลูกเมื่อลืมตาตื่น

ลูกจะไม่พบความสุขที่แท้จริงหากไม่เข้าหาธรรม

คิดถึงอนาคตของลูกได้โดยไม่กลัวอีกแล้ว

คนใกล้ชิดที่สุดมักเป็นคนสุดท้ายที่รู้ความจริง

ต้องระวังลัทธิขี้โกง “หิวก็กิน ง่วงก็นอน”

เมื่อจิตสำนึกบอกว่า กินอย่างอร่อยไม่ได้

นิสัยเรื่องการกินระหว่างคนไทยกับคนอังกฤษ

เฝ้าดูต่อมน้ำลาย

การทานอาหารถูกปากเป็นเรื่องธรรมชาติมาก

ปฏิกิริยาต่อความตายได้เปลี่ยนไป

ไม่อยากตายเพราะสงสารลูกเล็กและสามี

เหมือนเป็นคนเลือดเย็น ไร้เมตตา

ไม่กลัวตายเพราะเข้าใจการทำงานของสังสารวัฏ

พูดได้อย่างเดียวว่า น่าสงสาร!!!

ตายง่าย ๆ อย่าทำให้คนอื่นลำบาก

การฝึกสติในชีวิตประจำวัน

เหมือนออกจากบ้านไปทำธุระ เสร็จแล้วก็กลับบ้านตามปกติ

ชีวิตประจำวันเป็นข้อทดสอบที่ดีของผู้บรรลุธรรม

แม้คลื่นระลอกแรกก็ไม่เห็นอีกแล้ว

ชีวิตปุถุชนเหมือนลูดกิ่งกุหลาบ

เหมือนเลาะหนามกุหลาบทิ้งหมดแล้ว

ใช้เพลงโปรดเก่า ๆ เป็นเครื่องล่อให้หนูออกจากบ้าน

ทุกคนมีชีวิตเสียดสีอยู่กับพระนิพพานอย่างแนบเนื่องแล้ว

กลัวผี

ทดสอบตนเองว่ายังกลัวผีหรือไม่

วิปัสสนาญาณไม่ได้ทำลายแต่ผี แต่ทำลายถึงความมืดของอวิชชา

เทวดายังต้องมาฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเลย

อยากมีอุดมคติเหมือนคานธี

โดยทฤษฎีแล้ว ไม่ควรแต่งงาน

พบกันครึ่งทาง

ความตึงเครียดกลับมาอีก

เจอมรสุมชีวิต แต่หัวใจไม่เจ็บปวด

แยกทางกันเพื่อมองปัญหาให้ชัดขึ้น

เราต้องเป็นฝ่ายเสียสละ

เป็นการหลอกล่อให้เขาทำบุญ

คิดว่าทำในสิ่งที่ถูกต้องแล้ว

เข้าใจปัญหาได้ชัดขึ้น

ข้อเท็จจริงของการนอนในเมืองหนาว

เตรียมใจสามีเพื่อเหตุการณ์ที่อาจเกิดในอนาคต

 

บทที่สิบแปด การแสดงออกถึงความกล้าหาญทางจริยธรรม

 

เผชิญหน้ากับโลกธรรม

ไม่รู้ตัวว่ามีความกล้าหาญทางจริยธรรม

เคยรู้สึกกลัวชาวอโศก

ความถูกต้องในระดับสูงสุดคือพระนิพพาน

ต้องตกลงกับผู้อ่านให้ดีก่อน

นุ่งผ้าถุง พบถนอม

ไม่จงรักภักดีต่อเจ้านาย

ถูกไล่ออกจากร้านอาหาร

 

บทที่สิบเก้า พระ ฆราวาส กับเรื่องเพศ

 

พบพระยันตระครั้งแรกที่วัดสนามนอก

พระยันตระมาพักที่บ้านเพื่อน

ไม่ได้เป็นพระขี้อายอีกต่อไป

ครั้งแรกที่เห็นพระขบฉันในยามวิกาล

พอได้ยินเสียงทัก รู้สึกสะอึกทันที

เทศน์น้ำมากกว่าเนื้อ

ชื่อเสียงเขาบดบังปัญญาเรา

ได้ยินข่าวลือเรื่องยันตระเป็นครั้งแรก

รู้สึกรับผิดชอบมาก

เขียนจดหมายถามทันที

อาจารย์โกวิทเรียกยันตระเฉย ๆ

คนที่ทำลายศาสนาได้ดีคือพระ ไม่ใช่ฆราวาส

พุทธศาสนาคือร่มโพธิ์ร่มไทรของคนไทย

วิถีชีวิตที่มั่นคงถูกทำลายเพราะเดีรถีร์

อาจเรียนรู้ความผิดพลาดของคนอื่นได้

บรรพชิตในวัฒนธรรมไทยเป็นเรื่องดาบสองคม

คนไทยเสียขวัญเพราะทุกอย่างไม่ได้เป็นไปตามทฤษฎีอีกแล้ว

บรรพชิตกับเรื่องเพศ

เป็นเรื่องฝืนธรรมชาติ

เรื่องเพศเป็นสัญชาติญาณ

สัญชาติญาณเป็นเรื่องง่ายที่เข้าใจยาก

จำเป็นต้องฝืนถ้าอยากไปนิพพาน

เอาหินทับหญ้า

พระป่ายังไม่ปลอดภัย

นักบวชผู้บรรลุฌาน

เมื่อไม่มีข้อสอบก็ไม่รู้ว่าจะสอบได้หรือสอบตก

ผ้าขี้ริ้วห่อทองต้องทำข้อสอบมากกว่าพระ

ผู้บรรลุธรรมในป่ามักชักชวนคนเข้าป่า

พระอิสระมุนี

ความยากง่ายของพระและฆราวาสต่อเรื่องเพศ

ฆราวาสได้เปรียบกว่าพระในเรื่องเพศ

ใช้ชีวิตจนสุดสายป่านแล้วจะเข้าถึงธรรมได้เร็วขึ้น

วัฒนธรรมทางศาสนาสอนให้มองเรื่องเพศเป็นของต่ำทราม

ต้องแยกแยะให้ถูก

สงสัยนางวิสาขา

เอาหัวคนแก่มาวางบนบ่าของเด็กไม่ได้

มองจากหน้าต่างของธรรมชาติ

ทำไมพระทำผิดแล้วไม่ยอมสึก

 

บทที่ยี่สิบ ปัญหากับครอบครัวของสามี

 

คุณย่าเป็นผู้นำ

มีบางอย่างที่ไม่ลงตัว

น้องสาวของสามีก็มีลูกที่ไล่เลี่ยกัน

พยายามเข้าใจวิถีชีวิตของคนอังกฤษ

ประวัติศาสตร์เริ่มซ้ำรอยเมื่อมาถึงลูกคนเล็ก

เอาไว้วันหลังนะ!!!

อ่านหัวใจของลูกได้ทะลุปรุโปร่ง

ทำนบใจพัง

เหมือนภูเขาไฟระเบิด

งงงันต่อเหตุการณ์

เอามีดคว้านแผลสด

ลุกไม่ขึ้น

ถ้าปัญหาไม่เกิด ก็ไม่รู้ความอ่อนแข็งของจิตคน

คนดีไม่ได้หมายความว่ามีปัญญาเสมอไป

เราเท่านั้นที่จะคลี่คลายวิกฤตการได้

เอาธรรมมายุติปัญหา

ปัญหาถูกกวาดเข้าใต้พรมอย่างถาวร

เป็นละครที่ไม่มีต้นไม่มีปลาย

ภาพที่ทำให้อุ่นใจมาก

 

บทที่ยี่สิบเอ็ด  ปัญหากับพระ

 

วัดแรกที่พานักศึกษาไปปฏิบัติธรรม

สามีไม่ชอบไปวัดนี้

นินทาลับหลังเจ้าอาวาส

หาคนเตือนเจ้าอาวาสไม่ได้

ควรใช้หลักพรหมวิหารเพื่อยุติปัญหา

เป็นเรื่องปกป้องศักดิ์ศรีของคนไทย

รับอาสาไปคุยกับเจ้าอาวาส

เรียบเรียงคำพูดอย่างระวัง

พยายามปกป้องความรู้สึกของเจ้าอาวาส

ถ้าไม่ผิด ย่อมไม่กลัว

พูดกับบัณฑิต ง่ายมาก!

พูดกับคนพาล ยากมาก!

จิตที่ฝึกไม่ดีย่อมซัดส่ายไปตามคลื่นลมของโลกธรรม

คำพูดที่ขาดภูมิปัญญาและเมตตา

ขุดหลุมฝังตัวเองอีก

เหตุผลที่ต้องเข้ามาพัวพัน

เข้าพบพระผู้ใหญ่

เขียนแถลงการณ์

ให้โอกาสแก่เจ้าอาวาส

หาคนสนับสนุนไม่ได้

ความเหลื่อมล้ำต่ำสูงของภูมิปัญญา

ทำตามคำแนะนำของอาจารย์โกวิทไม่ได้

ข้อเสนออันเป็นทางออก

แสดงออกถึงการขาดภูมิปัญญาอย่างรุนแรงอีกครั้งหนึ่ง

รู้หรือไม่ว่ากำลังจะเดินเข้าไปในดงงูเห่า

ถ้าไม่มีวิปัสสนาญาณ คงทำไม่ได้

เตือนแล้วว่า อย่ามา!!!

ถูกงูเห่ากัด

ถูกฝรั่งหัวเราะเยาะ

แม้กำลังถูกงูกัด สติก็ยังอยู่กับฐาน

ครั้งแรกในชีวิตที่รู้สึกมือหนัก กราบพระไม่ได้

อาการหลังช๊อค ถูกกองทัพหนูกระหน่ำ

เหมือนมองสิ่งที่อยู่แค่เอื้อม

คิดทบทวนเหตุการณ์

ไม่มีใครรู้ระดับภูมิปัญญาของเราอย่างแท้จริง

คว้านแผลสดโดยไม่ใสยาชา

ผิดหรือไม่ผิด ก็ยอมขอโทษ

แสดงออกถึงความเป็นมิตรอีก

ทำไมจึงไม่ยอมปล่อย

จดหมายที่เขียนช้าไปถึงสองปี

ทำไมจึงไปกราบขอโทษไม่ได้

จะจบได้เมื่อยอมปล่อยวางเท่านั้น

บทเรียน

ไม่มีใครรู้ว่าเราทำอะไรจริง ๆ

ทั้งคนทั้งพระคงหมั่นไส้เรา

ถูกตำหนิ

ฟังแล้วถึงกับสะอึก

บารมีในเรื่องมิตรสร้างมาน้อยเกินไป

ผิดหรือไม่ผิดก็ควรขอโทษก่อน

คนมีภูมิธรรมสูง ย่อมไม่กลัวแม้คนอื่นจะมองตนผิด

ต้องอยู่อย่างเจียมเนื้อเจียมตัวมากขึ้น

อยากสอนพระพุทธศาสนาอย่างตรงไปตรงมา

ไม่ได้…ต้องสอนศาสนาพุทธตามหลักสูตร

ไม่มีความกระตือรือร้นอีกแล้ว

ความยากของการสอนคนที่ไม่ได้สนใจศาสนาพุทธ

ห้ามแจกหนังสือใบไม้กำมือเดียว

ไม่รู้ว่าควรหัวเราะหรือร้องไห้ดี

รัฐบาลเน้นเรื่องการไม่ยัดเยียดศาสนา

เป็นหนังสือที่ต้องแจก

ถ้าไม่ก้าวก่าย ก็ไม่มีปัญหา

รู้สึกโดดเดี่ยวมาก

เขียนจดหมายให้บาทหลวงชาวเคปทาวน์

ถ้าได้รับการช่วยเหลือ ย่อมทำได้ดีกว่า

 

บทที่ยี่สิบสอง อุบายพาคนมืดบอดออกจากสังสารวัฏ

 

สืบทอดความคิดของท่านอาจารย์พุทธทาส

เรื่องพระเจ้าสร้างโลกต้องเป็นนิทานที่ดีที่สุด

ต้องอาศัยวิปัสสนาจึงเข้าใจต้นไม้ทั้งสองนี้ได้

ชาวคริสต์ไม่เข้าใจแก่นธรรมเพราะเอานิทานมาเป็นเรื่องจริง

เน้นคำถามอจินไตย จึงไม่มีคำตอบ

ต้องใช้วิธีการที่เขาสัมพันและสัมผัสได้

สางขยะทิ้ง ทำแก่นให้ชัด

เริ่มต้นที่ไท้เก็กก่อน

สภาวะอันติมะอันยิ่งใหญ่คือไท้เก็ก

หักมุมพาเข้าสู่พระพุทธศาสนา

ศาสนาพุทธเริ่มต้นที่วลีว่า “ฉันรู้แล้ว”

เข้าเรื่องโครงสร้างชีวิตทันที

อธิบายให้เขารู้ว่าทำไมผลจึงมาก่อนเหตุ

ทำสมาธิโดยการเคลื่อนไหว

ไท้เก็กเป็นสมาธิที่ไม่อิงศาสนพิธี

อุบายพาคนมืดบอดออกจากสังสารวัฏ

คุณแม่สอนให้รู้จักคำว่า “เก็ก”

ยังวนเวียนอยู่กับคำว่า “เก็ก”

สติปัฏฐานสี่คือการพาจิตกลับบ้าน

เริ่มเห็นฐานที่สี่ก็จะเห็นพระเจ้า

ตีความคำว่า “พระเจ้า” ให้ชาวคริสต์

ความรู้สึกที่น่ากลัวของปัญญาชน

คิดว่าตัวเองต้องบ้าแน่

เราเท่านั้นที่รู้ว่าทุกข์แค่ไหน

เป็นความต้องการของเบื้องบน

แหย่เสือในถ้ำเสือ

หลวงปู่เจี๊ยะถามว่า เคยถูกเขาทุบตีหรือเปล่า?

รู้จักตัวเองคือรู้จักขันธ์ ๕

ขันธ์ ๕ คือ จักรวาลภายนอกกับจักรวาลภายใน

ไม่เข้าใจ “รูป” ความรู้ทางโลกก็เลี้ยวผิดทาง

หาจิตที่สมองจึงเกาไม่ถูกที่คัน

ถ้าไม่มีพระพุทธเจ้าก็ไม่รู้ว่าอายตนะที่ ๖ คือคำตอบ

ทอมกับเจอรี่ การเปรียบเทียบร่วมสมัย

การรำไท้เก็กคือการปลุกทอมให้ตื่น

ทำลายความฝันอันสูงสุด

พูดอย่างเมตตา

เดินคร่อมโลก

 

บทที่ยี่สิบสาม ทำไมจึงอวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน?

 

เป็นยุคที่มีคนโง่มากกว่าคนฉลาด

คนตาบอดจะไม่รู้ว่าคนไหนมีตาดี

ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต

คนรู้จริงอาจสอนไม่เก่งเท่าคนรู้ไม่จริง

ความยากของการไปนิพพาน

พิสูจน์ตนเองต่อตนเอง

ความคิดที่ทำให้คนเป็นบ้าได้

พระนิพพานคือสภาวะธรรมดาอย่างถึงแก่น

กล้าคิดและทำเรื่องใหญ่โดยไม่รู้สึกตัวว่าใหญ่

หนังสือที่เขียนจากผลมาหาเหตุ

การเป็นโสดาบันไม่ใช่เรื่องยาก

ทำไมเปลือกจึงหุ้มแก่นศาสนา?

ความเป็นธรรมดามีอยู่ในคนทุกคน

พระโสดาบันยังมีทุกข์อีกมาก

คู่มือชีวิต – คู่มือแห่งการเป็นพระโสดาบัน

คนกลุ่มแรก

คนกลุ่มที่สอง

คนกลุ่มที่สาม

คนกลุ่มที่สี่

ความมืดในระดับต่าง ๆ

ปัจฉิมพจน์

 

ภาคผนวก

 

บทที่หนึ่ง สภาวะพระนิพพาน

นักวิทยาศาสตร์พิสูจน์ความเป็นอนิจจังให้พระพุทธเจ้า

จุดที่วิทยาศาสตร์และศาสนายืนพิงกัน

นิจจังที่ซ้อนอยู่บนอนิจจัง

คำที่ทำให้เข้าใจนิพพานอย่างคลาดเคลื่อน

คำตอบอยู่ที่การหยุดคิด

ชีวิตอมตะ eternal life เป็นอย่างนี้เอง

เห็นปัจจุบันจริง ๆ ก็จะเห็นนิพพาน

 

บทที่สอง สภาวะของพระอรหันต์

 

คำถามที่ไม่เกิด

พระอรหันต์รอการถูกล๊อตเตอรี่

ความรู้ที่สมบูรณ์และเด็ดขาดในตัวเอง

พิสูจน์ตนเองต่อตนเอง คนอื่นไม่เกี่ยว

คนธรรมดาเทียบเคียงความรู้สึกของพระอรหันต์ได้

พระอรหันต์ปรับระดับจิตได้เร็วมาก

รับฟังรุ่นพี่

ไม่มีคำถามจะถามหลวงตาบัว

พิชิตมารตัวสงสัย

ถ้าไม่โง่ที่สุด ก็ต้องบริสุทธิ์จริง

 

บทที่สาม มองโลกให้ถูกต้องตามหลักธรรม

 

โลกกำลังเตรียมตัวเข้าสู่ยุคมิคสัญญี

ชาวอโศกต้องไม่หลงทิศ

จะฟังพระหรือฆราวาสต้องตัดสินเอง

 

บทที่สี่ ธรรมชาติสอนอนิจจังได้ แต่สอนนิพพานไม่ได้

 

ไม่ต้องเข้าวัดก็เข้าใจธรรม(ชาติ)ได้

ผู้รู้เท่านั้นที่ชี้ให้เห็นนิพพานได้

วัฒนธรรมสติปัฏฐานช่วยดูแลคนหมู่มาก

 

บทที่ห้า พระสงฆ์เถรวาททำปริญญาทางโลก

 

วิจารณ์จริยธรรมพุทธ

จริยธรรมพุทธมีเป้าหมายที่พระนิพพาน

เหมือนบอกให้สงสัยในพระบรมศาสดา

มีหน้าที่ต่อพระพุทธเจ้าก่อน

ต้องเลือกระหว่างปริญญาทางโลกกับทางธรรม

ระบบการศึกษาตะวันตกคือการหัดคิดแบบฝรั่ง

 

บทที่หก ระบบจริยธรรมของตะวันตก

 

นักปรัชญาไม่ใช่ผู้รู้

จริยธรรมคริสต์ควรมีเป้าหมายถ้าพระเจ้าคือนิพพาน

เมื่อพระเจ้าถูกทำลาย ก็ไม่จำเป็นต้องทำความดี

การไม่เชื่อพระเจ้าเป็นความโง่ ไม่ใช่ความเท่ห์

จะรักษาวัฒนธรรมไทยได้ เมื่อลูกหลานไทยเข้าใจโครงสร้างชีวิต

เมื่อรู้จุดคงที่ (นิพพาน) ก็แก้ปัญหาได้

พระเจ้าช่วยไม่ได้ แต่กฏแห่งกรรมช่วยได้

ทุกคนรักตัวเองมากที่สุด

ชาวพุทธทำตามคำสอนของพระคริสต์ได้ดีกว่าชาวคริสต์

 

บทที่เจ็ด ต้องฟังผู้รู้จึงเลี้ยวถูกทาง

 

เมื่อตั้งคำถามผิด ก็หลงเข้าป่าลึก

เถียงเรื่องอจินไตย ไปไม่ได้ไกล

พระพุทธเจ้าอธิบายจักรวาลด้วยทฤษฎีอิทัปปัจยตา

พระพุทธเจ้าเก่งที่สุด

โลกนี้เป็นที่อยู่ของขนโค

ต้องเริ่มที่การรับฟังผู้รู้เท่านั้น

 

บทที่แปด บุญกิริยาวัตถุ ๑๐

 

เรื่องตื้นที่ลึกซึ้งมาก

บุญสำเร็จด้วยการอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่

บุญสำเร็จด้วยการขวนขวายในกิจที่ชอบ

ปัญหาของคนทำงานในยุคนี้

ถ้ารักพระพุทธเจ้าแล้ว เรื่องก็ง่ายขึ้น

คนสวนกลัวบาป

 

บทที่เก้า การอยู่อย่างมีรากแก้ว

 

พระอริยเจ้าคือผู้เริ่มใช้ชีวิตอมตะ

สลัดโคลนหลุดได้เสมอ

เจ้าหญิงมากาแร๊ตใช้ชีวิตที่เต็มเปี่ยมจริงหรือ?

อย่าเสียชาติเกิด